homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
https://www.fapjunk.com
Alanya Eskort
alanya escort bayan mersin escort bayan
ümraniyetip maltepe escort alanya eskort pendik.net pendik escort anadolu yakası escort bayanlar escort bayan maltepe
ataşehir escort kadıköy escort kartal escort maltepe escort
проститутки
deneme bonusu veren siteler
casino levant casinolevant
gaziantep escort gaziantep escort
sakarya escort akyazı escort arifiye escort erenler escort eve gelen escort ferizli escort geyve escort hendek escort otele gelen escort sapanca escort söğütlü escort taraklı escort
sakarya escort akyazı escort arifiye escort erenler escort eve gelen escort ferizli escort geyve escort hendek escort karapürçek escort karasu escort kaynarca escort kocaali escort otele gelen escort pamukova escort sapanca escort söğütlü escort taraklı escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

โรคแอนแทรคในพืชผัก

     โรคแอนแทรคโนส (Colletotrichum spp.) เป็นเชื้อราก่อโรคสร้างความเสียหายต่อปริมาณและคุณภาพผลผลิตในหลายพืช มีพืชอาศัยมากถึง 470 ชนิด ทั้งพืชกลุ่มไม้ผล พืชผัก และไม้ดอกไม้ประดับ

     ตัวอย่างโรคแอนแทรคโนสในพืชผัก ได้แก่

     1.พืชตระกูลพริก : อาการเริ่มแรกเป็นแผลหรือจุดช้ำเป็นแอ่งยุบลง ต่อมาแผลจะแห้งเป็นสีน้ำตาลหรือดำเป็นวงซ้อนกัน มีเม็ดเชื้อราเป็นปุ่มสีดำเล็กๆกระจายบนแผล เข้าทำลายตั้งแต่เริ่มเป็นผลเล็กจนถึงโตเต็มที่ ผลเกิดอาการคดโค้งงอหรือบิดเบี้ยวลักษณะคล้ายกุ้งแห้ง มักเรียก “โรคกุ้งแห้ง”

     2.พืชตระกูลหอม : อาการเริ่มเกิดที่โคนใบ ทำให้ใบหักงอ แผลลามออกเป็นวงๆ มีสปอร์สีดำกระจายบนแผล ทำให้ใบม้วนงอและบิดเป็นเกลียว ใบทอดนอนยาวอยู่ตามพื้น มักเรียก “โรคหอมเลื้อย” โรคเข้าทำลายถึงหัวจะทำให้หอมไม่ลงหัว ต้นเตี้ยสั้น หัวเล็ก ผลผลิตไม่มีคุณภาพ

     3.พืชตระกูลมะเขือ : แผลกลมสีน้ำตาล ยุบเป็นแอ่งลงไป อาจพบสปอร์บนแผล ต่อมากจะทำให้เกิดผลเน่า หรือเน่าแห้งเป็นสีน้ำตาลดำ

ที่มาภาพ: KASET go

    4.พืชตระกูลแตง : อาการแรกๆใบจะเป็นจุดเหลืองเล็กๆ หรือจุดฉ่ำน้ำ และขยายใหญ่รวดเร็ว เปลี่ยนเป็นสีน้ำตาลเข้มถึงดำ ใบร่วงได้ อาการบนผลเริ่มแรกเป็นจุดฉ่ำน้ำ ต่อมาแผลแห้งเป็นสีน้ำตาลหรือดำ เห็นเป็นวงซ้อนกัน

ที่มาภาพ: CABI PlantwisePlus

     วิธีการป้องกันกำจัด

     1. ใช้เมล็ดพันธุ์ที่ปราศจากโรค

     2. ก่อนปลูกแช่เมล็ดในน้ำอุ่น 49 องศาเซลเซียส นาน 20 นาที เพื่อฆ่าเชื้อที่ติดมากับเมล็ด

     3. ทำลายส่วนที่เป็นโรค โดยการนำไปเผาทิ้ง

     4. ในแหล่งระบาด ควรปลูกพืชหมุนเวียนเพื่อตัดวงจรการระบาด

     5. พ่นสารเคมีป้องกันกำจัดโรค แนะนำ

         ป้องกัน: เบนเอฟ 30 ซีซี หรือ บิซโทร 30 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร

         รักษา: แซสซี่ 10 ซีซี หรือ อินดีฟ 10 ซีซี หรือ รัสโซล 15 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen