homescontents
pendik escort maltepe escort anadolu escort bostancı escort kadıköy escort ataşehir escort ümraniye escort
https://www.fapjunk.com
Alanya Eskort
alanya escort bayan mersin escort bayan
ümraniyetip maltepe escort alanya eskort pendik.net pendik escort anadolu yakası escort bayanlar escort bayan maltepe
ataşehir escort kadıköy escort kartal escort maltepe escort
проститутки
deneme bonusu veren siteler
casino levant casinolevant
gaziantep escort gaziantep escort
sakarya escort akyazı escort arifiye escort erenler escort eve gelen escort ferizli escort geyve escort hendek escort otele gelen escort sapanca escort söğütlü escort taraklı escort
sakarya escort akyazı escort arifiye escort erenler escort eve gelen escort ferizli escort geyve escort hendek escort karapürçek escort karasu escort kaynarca escort kocaali escort otele gelen escort pamukova escort sapanca escort söğütlü escort taraklı escort
sakarya escort sakarya escort sakarya escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort sapanca escort
izmir escort kızlar alacatı escort Buca escort escort izmir
เพิ่มสินค้าสำเร็จ!
ไม่สามารถเพิ่มสินค้าได้!
babilbet giriş jascasino giriş jascasino güncel giriş jascasino yeni giriş jascasino yeni giriş ilbet yeni giriş tulipbet yeni giriş piabella casino bahisbudur giriş betmoney giriş starzbet yeni giriş megapari yeni giriş levantcasino giriş radabet yeni giriş bahisbey yeni giriş Bircasino yeni giriş diyarbet yeni giriş runtobet yeni giriş
สาระน่ารู้ข่าวสาร

โรคแอนแทรคโนสของมะละกอ

   เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum gloeosporioides  เป็นโรคที่สามารถเกิดได้ทั้งบนใบและผล โดยใบจะแสดงอาการเป็นจุดแผลสีน้ำตาล กลางแผลสีซีดจางและมักจะขาดเป็นรูในเวลาต่อมา มักส่วนขยายพันธุ์ของเชื้อราเป็นจุดสีดำขนาดเล็กกระจายอยู่บนแผล หากเกิดโรคบนผลจะไม่แสดงอาการในช่วงผลอ่อน แต่โรคจะฟักตัวอยู่และไปแสดงอาการจนเห็นได้ชัดเมื่อผลสุก แผลมีลักษณะกลม ฉ่ำน้ำ และยุบตัวลง ตรงกลางมีจุดสปอร์เชื้อสีส้มหรือชมพูขึ้นเป็นวงๆ แผลสามารถลุกลามขยายตัวไปได้ ทำให้ผลเน่าเสียในเวลารวดเร็ว โดยเฉพาะช่วงอากาศอบอ้าวและความชื้นสูง

การแพร่ระบาด

            แพร่กระจายไปโดยลมและฝน โดยเชื้อจะกระจายจากส่วนที่เป็นโรค เมื่อตกลงบนผิวพืช สปอร์สามารถงอกและแทงเข้าสู่ผิวผลได้หากพืชไม่แข็งแรง ทำลายได้โดยไม่จำเป็นต้องมีบาดแผล

การป้องกันรักษา

  1. เก็บทำลายใบและผลที่ร่วงไปทำลายทิ้งนอกแปลง ลดการระบาดของเชื้อโรค
  2. ใช้สารเคมีป้องกันกำจัด
การป้องกัน ใช้ บิซโทร 30 กรัม หรือ เบนเอฟ 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
การรักษา     ใช้ รัสโซล 20 ซีซี หรือ แซสซี่ 10 ซีซี หรือ อินดีฟ 10 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร
  1. บำรุงให้ผนังเซลล์พืชแข็งแรงอยู่เสมอ ลดการเข้าทำลายของเชื้อโรค แนะนำ แคลเคลียร์ 20 ซีซี หรือ นีโอ-ไฮแคล 20 ซีซี ต่อน้ำ 20 ลิตร

สอบถามเพิ่มเติม ได้ที่ สำนักงานยูนิไลฟ์ทุกสาขาทั่วประเทศ หรือ ยูนิไลฟ์ สำนักงานใหญ่ โทรศัพท์ 02-399-5555 หรือ ไอดีไลน์ @unilife

แหล่งข้อมูล: คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร



bakerdepolama.com
วิธีสั่งของออนไลน์
Designed By: josen